ใบ งาน วิชา ดนตรี ม 1 | ใบความรู้ ที่ 1

ส. ค. 26 ความหมายของ ศิลปะ ในสมัยโบราณ นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของศิลปะ (Art) ไว้ว่า ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้น ต้นไม้ ภูเขา ทะเล น้ำตก ความงดงามต่าง ๆ ตามธรรมชาติจึงไม่เป็นศิลปะ ดอกไม้ที่เห็นว่าสวยสดงดงามนักหนา ก็ไม่ได้เป็นศิลปะเลย ถ้าหากเรายึดถือตามความหมายนี้แล้ว สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นทั้งหลาย ก็ล้วนแล้วแต่เป็นศิลปะทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น ภาพวาด ภาพพิมพ์ งานปั้น งานแกะสลัก เสื้อผ้าอาภรณ์ เครื่องประดับ ที่อยู่อาศัย ยานพาหนะ เครื่องใช้สอย ดอกกุหลาบ ทิวทัศน์ธรชาติ ความงามในงาน ศิลปะออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ความงามทางกาย (Physical Beauty) เป็นความงามของรูปทรงที่กำหนดเรื่องราว หรือเกิดจากการประสานกลมกลืนกันของทัศนธาตุ เป็นผลจากการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ 2.

Upcoming SlideShare Loading in … 5 × 1. วิชาดนตรี ม. 2 1 ใบความรู้ประเภทเครื่องดนตรีไทย เครื่ องดนตรี ไทยเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมและเป็ นเครื่ องหมายอย่างหนึ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของชาติเช่นเดียวกับภาษา และศิลปวัฒนธรรม ด้านอื่นๆ จึงควรภาคภูมิใจ ส่ งเสริ ม และรักษาไว้ให้คงอยูสืบไป ่ เครื่ องดนตรี ไทย สามารถจาแนกได้เป็ น 4 ประเภท คือ เครื่ องดีด เครื่ องสี เครื่ องตี และเครื่ องเป่ า1.

เครื่องดีด จะเข้ มี 3 สาย เดิมเป็ นสายไหมสองสาย และสายลวดหนึ่งสายแต่ปัจจุบนนิยมใช้ไนลอนแทน ตัวจะเข้ทาด้วยไม้ ัเนื้ออ่อน เช่น ไม้ขนุน ขุดเป็ นโพรง มีช่องเสี ยงอยูขางล่าง มีสาย 3 สาย ทาด้วยไหมฟั่น และทองเหลือง ่ ้ กระจับปี่ เป็ นเครื่ องดีดประเภทพิณ กล่องเสี ยงทาด้วยไม้เนื้ออ่อนขุดเป็ นโพรง ขนาดประมาณ 25 x 40 ซม. ช่องเสี ยงด้านหน้า มีคนทวนค่อนข้างยาวประมาณ 100 ซม. มีลูกบิดตอน บนสาหรับขึ้นสาย 4 ลูก ขึ้นสายเป็ น 2 คู่เสี ยงเท่ากัน ้ ่ ันมตั้งเสี ยงติดอยูกบด้านหน้าของค้นทวน ใช้ดีดด้วยเขาสัตว์ สายกกระจับปี่ ทาด้วยไหม ฟั่น เอ็น / สายลวด4. เครื่องสี ซอด้ วง มีส่วนประกอบสาคัญ 4 ส่ วน คือ กะโหลก คันซอ สายซอ กะโหลกซอด้วง มีรูปทรงกระบอกทาด้วยไม้ประดู่ ขึงหน้าด้วยหนังงู มีช่องเสี ยงอยูตรงข้ามคันชักนิยมใช้หางม้าซอด้วงมีสองสายทาด้วยไหม / ไนลอน ปัจจุบนนิยมใช้ ่ ัสายไนลอนซอด้วงมีระดับเสี ยงแหลม เทียบเสี ยงเป็ นคู่หา ้ ซออู้ เป็ นเรื่ องดนตรี ประเภทสี กะโหลกซอจะทาด้วยกะลามะพร้าว มีสองสาย ระดับเสี ยงทุมมีรูปทรงโต ป้ านตัด ้ด้านหน้ากะลาออกปิ ดด้วยหนังที่หนากว่าซอด้วง คันทวยทาด้วยไม้เนื้อแข็งตอนบนมีลูกบิดสารับขึงสาย สายซอทาด้วยไหมฟั่นมีคนซอชักอยูระหว่างสาย ั ่

คุณค่าทางเรื่องราว (Content Value) ผลงานทัศนศิลป์สามารถบอกเล่าเหตุการณ์ เรื่องราว ความเชื่อ และรสนิยมของมนุษย์ในสังคมแต่ละสมัยทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้น การมองคุณค่าในแต่ละสมัยจึงมีความแตกต่างกันออกไป คุณค่าทางเรื่องราวที่นำมาสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์ มีดังนี้ 1. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ 2. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับความเชื่อในสิ่งเร้นลับ ศรัทธา 3. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 4. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง 5. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับวรรณคดี นิทานพื้นบ้าน สำนวน คำพังเพย สุภาษิต 7. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทัศนธาตุ (Visual Elements) ในทางทัศนศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไปด้วย 1. จุด (Dot) หมายถึง รอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฎที่พื้นผิว ซึ่งเกิดจากการจิ้ม กด กระแทก ด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ดินสอ ปากกา พู่กัน และวัสดุปลายแหลมทุกชนิด จุด เป็นต้นกำเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พื้นผิว ฯลฯ เช่น นำจุดมาวางเรียงต่อกันจะเกิดเป็นเส้นและการนำจุดมาวาง ให้เหมาะสม ก็จะเกิดเป็นรูปร่าง รูปทรง และลักษณะผิวได้ 2.

Facebook icon Facebook Twitter icon Twitter LINE icon Line รวม ใบงานแบบฝึกหัดศิลปะ ม.

น้ำหนักอ่อน-แก่ (Value) หมายถึง จำนวนความเข้ม ความอ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามที่ประสาทตารับรู้ เมื่อเทียบกับน้ำหนักของสีขาว-ดำ ความอ่อนแก่ของแสงเงาทำให้เกิดมิติ เกิดระยะใกล้ไกลและสัมพันธ์กับเรื่องสีโดยตรง 5. สี (Colour) หมายถึง สิ่งที่ปรากฎอยู่ทั่้วไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ หรือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สีทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างมากมาย เช่น ทำให้รู้สึกสดใส ร่าเริง ตื่นเต้น หม่นหมอง หรือเศร้าซึมได้ เป็นต้น 6. บริเวณว่าง (Space) หมายถึง บริเวณที่เป็นความว่างไม่ใช่ส่วนที่เป็นรูปทรงหรือเนื้อหาในการจัดองค์ ประกอบใดก็ตาม ถ้าปล่อยให้มีพื้นที่ว่างมากและให้มีรูปทรงน้อย การจัดนั้นจะให้ความรู้สึกอ้างอ้าง โดดเดี่ยว 7. พื้นผิว (Texture) หมายถึง พื้นผิวของวัตถุต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น พื้นผิวของวัตถุที่แตกต่างกัน ย่อมให้ความรู้สึกที่แตกต่าง กันด้วย

  1. แผ่น แก้ ปวด ตรา เสือ
  2. รายงาน ผล บอล สด 88.7
  3. วิธีการทำใบงานออนไลน์ วิชาดนตรี ชั้น ม.1 - YouTube
  4. สมุดบันทึก - เปิดเทอมดอทคอม
  5. ใบ งาน วิชา ดนตรี ม 1.0
  6. ลำโพงแบบคล้องคอ Bluetooth: รุ่นคุณสมบัติและราคาที่ดีที่สุด | ITIGIC
  7. อา ม่า ให้ ลาภ 17 1.6.2
  8. เหรียญ หัว หนาม อิน โด จีน
  9. ใบความรู้วิชาดนตรี | artchulabhorn
  10. ใบ งาน วิชา ดนตรี ม 1 2 3
  11. ใบ งาน วิชา ดนตรี ม 1.4

โพสต์ 15 ก. ค. 2555 10:11 โดยสุริเยศ เลาหประภานนท์ [ อัปเดต 16 ก. 2555 18:56] เรื่อง ทฤษฎีดนตรีส ากลเบื้ องต้ น ระดับเสียงและชื่อท างดนตรี (Pitches An d Mus ica l Names) การกำหนดให้เสียงมีระดับสูงต่ำกว่า กันตามชื่อเ รียกได้ต้ องมีบรรทัด 5 เส้น ภาษาอังกฤษเรียก สต๊าฟ (STAFF) ไว้สำหรับใ ห้ตัวโน้ตยึดเกาะ มีส่วนประกอบคือ จำนวนเส้น 5 เส้น จำนวน ช่อง 4 ช่อง เส้น ช่อง การบันทึกตัวโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้นทำได้ 2 แบบ โดยการบันทึกจะต้องชัดเจนแน่นอน 1. ให้หัวตัวโน้ตวางบนเส้น (On a Line) 2.

Music: ใบงาน

จังหวะ (Rhythm) หมายถึง การเคลื่อนไหวของทำนองเพลง อาจกำหนดไว้เป็นความช้าเร็วต่าง ๆ กัน เช่นเพลงจังหวะช้า เพลงจังหวะเร็ว ซึ่งจังหวะจะบอกถึงลีลา อารมณ์ของบทเพลงนั้น ๆ ถ้าเป็นจังหวะของดนตรีไทย มีเครื่องดนตรีประเภท ฉิ่ง จังหวะหน้าทับ และจังหวะสามัญ เป็นตัวกำกับ 2. เสียงดนตรี (Tone) เป็นเสียงสั่นสะเทือนของอากาศอย่างสม่ำเสมอ เช่น การร้อง การเป่า การดีดและการสี แบ่งเป็น ระดับเสียง ความยาวของเสียง ความเข้มของเสียง และคุณภาพของเสียง 3. ทำนอง (Melody) หมายถึง การจัดเรียงลำดับเสียงต่ำ เสียงสูง เสียงสั้น เสียงยาว เสียงทุ้ม ของดนตรีหรือบทเพลงทำนองของดนตรีหรือทำนองของบทเพลงแต่ละเพลง 4. การประสานเสียง ( Harmony) หมายถึง การผสมผสานเสียงตั้งแต่ 2 เสียงขึ้นไป โดยเรียบเรียงนำเสียงของเครื่องดนตรีแต่ละเครื่องและเสียงร้องเพลงของมนุษย์ที่มีระดับเสียงต่างกัน เปล่งเสียงออกมาพร้อมกัน 5. คีตลักษณ์ หรือรูปแบบ ( Music Form) โครงสร้างของบทเพลงที่มีแบบแผน 6. รูปพรรณหรือพื้นผิว (Texture) เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างทำนองกับการประสาน ทำให้เกิดภาพรวมของ 6. 1 แบบโมโนโฟนี ( Monophony) ดนตรีแนวทำนองเดียว ไม่มีเสียงประสานหรือองค์ประกอบใด 6.