ปัญหา ใน ชั้น เรียน วิทยาศาสตร์

เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 45 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย นวัติกรรม/เครื่องมือ 1. ชุดกิจกรรมการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 2. แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ วิธิดำเนินการ 1. วางแผนโดยกำหนดปัญหาที่เกิดขึ้น และวินิจฉัยปัญหาที่พบในการเรียนการสอนในบทเรียนที่จะนำมาใช้ในการวิจัย 2. กำหนดประชากรกลุ่มตัวอย่าง และระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. สอนและสังเกตบทเรียนในห้องเรียน 4. แก้ไขและปรับปรุงแผนการสอนจากบทเรียนที่นำไปใช้ในการศึกษา 5. สอน และสังเกตบทเรียนที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไข 6. นำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ ผลการวิจัย 1. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง "ดินในท้องถิ่น" ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการแก้ปัญหาในการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง "ดินในท้องถิ่น" พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ก่อนเรียน 2.

ผลงานวิจัยในชั้นเรียน

มากกว่าอยู่? ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นนี้เป็นปัญหาที่เกิดจากการสอดแทรกวิทยาศาสตร์ลงไปใน "ความเป็นไทย" ที่มีลักษณะเป็นอำนาจนิยม ทำให้วิทยาศาสตร์และความเป็นไทยยังคงสอดแทรกไม่เป็นเนื้อเดียวกัน จึงไม่แปลกใจเลยว่าทำไมคนส่วนมากในวงการวิทยาศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ อาจารย์มหาวิทยาลัย หรือครูวิทยาศาสตร์ มักจะสนใจแต่วิทยาศาสตร์ ไม่ค่อยสนใจปัญหาสังคมเท่าที่ควร การที่วงการวิทยาศาสตร์สมาทานความเป็นไทยนั่นเกี่ยวข้องกับที่เราคุยกันมาข้างต้นอย่างไร?

วิทยาศาสตร์...เรื่องไกลตัว: ปัญหาสำคัญของการศึกษาวิทยาศาสตร์? | ประชาไท Prachatai.com

ผลงานวิจัยในชั้นเรียน ผลงานวิจัย ของ อ.

จอง ตั๋ว เรือ ไป เกาะ เต่า

ปัญหาการสอนวิทย์ by ผู้เสพ ความตาย

ปัญหาการสอนวิทย์ by ผู้เสพ ความตาย

การศึกษาสภาพ ปัญหาและการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของครูตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี

เรามักจะมองว่า "ทำไมวิทยาศาสตร์ถึงเป็นเรื่องไกลตัวสำหรับคนไทย? "

นักเรียนเกินครึ่งจะตอบไม่ได้ และที่ตอบมาส่วนใหญ่ก็คงจะไม่ตรงกันแน่ๆ แต่ที่แน่ๆ คุณครูจะตอบคำถามนี้ได้หรือไม่ เราก็ไม่แน่ใจเหมือนกัน สาเหตุที่เรายังไม่ตอบคำถามง่ายๆ เหล่านี้ได้ ก็เพราะเราคงไม่เห็นว่าคำถามนี้เป็นคำถามที่สำคัญสำหรับการศึกษาวิทยาศาสตร์ ในความเป็นจริงแล้ว คำถามนี้สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยทุกระดับมองวิทยาศาสตร์ว่ามีความหมายอย่างไร?

  • เข็ม หมุด หัว แบน ราคา
  • ข้าวเหนียว ไก่ ทอด 20 บาท บางใหญ่
  • ผื่นแพ้แบบตุ่มใส มีวิธีรักษาให้หายเร็วๆมั้ยคะ - Ged Good Life ชีวิตดีดี
  • เปิดแบ่งปันครับ หลวงพ่อเงิน ออกวัดวังจิกปี15 ก้นปาดแบบ
  • กระเบื้อง ลาย คิ ต ตี้
  • Bath and body works สาขา emquartier water
  • รัก สุดท้าย ของ นาย ไฮ โซ 2006 ซับ ไทย voathai.com
  • แก รน ด์ เม อ ร์ เคียว เขา หลัก
  • Samsung 49 uhd 4k curved smart tv รุ่น mu6300 smart

กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารียา นะสานี. 2548. "การศึกษาสภาพ ปัญหาและการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของครูตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี". "การศึกษาสภาพ ปัญหาและการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของครูตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี. " กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. Print. อารียา นะสานี. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2548.

ได้พยายามริเริ่มจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้สะเต็มศึกษา (STEM Education) ซึ่งเป็นการอาศัยการบูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร์ (science) เทคโนโลยี (technology) วิศวกรรมศาสตร์ (engineering) และ คณิตศาสตร์ (mathematics) โดยมีการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ และมีการตั้งศูนย์สะเต็มศึกษาขึ้นในหลายโรงเรียนทั่วประเทศ จริงอยู่ที่ว่าคำถามนี้ไม่ใช่เพียงแค่คำถาม แต่เป็นปัญหาที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ดูได้จากความพยายามลงไม้ลงแรงของหน่วยงานภาครัฐมาตลอดหลายสิบปี นับจากการตั้ง สสวท. เพื่อพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ไปจนถึงการให้ความสำคัญกับสายวิทยาศาสตร์ในการศึกษาระดับสามัญ ถ้าลองมาคิดดูแล้วจะเห็นได้ว่าหน่วยงานภาครัฐใช้ภาษีของประชาชนลงทุนให้กับการศึกษาวิทยาศาสตร์อย่างมหาศาล แต่ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่เป็นที่น่าพอใจเท่าไหร่นัก ลงทุนไปมากแล้วอย่างไรเล่า? สุดท้ายก็วนกลับมาที่ปัญหาว่าทำไมวิทยาศาสตร์ถึงเป็นเรื่องไกลตัวสำหรับคนไทย? อยู่ดี น่าสงสัยหรือไม่ว่าทำไมเราต้องมุ่งเน้นไปแก้ปัญหาที่หลักสูตรการศึกษา ทั้งที่จริงๆ แล้วมันอาจมีอะไรบางอย่างที่เราไม่คาดคิดก็เป็นได้ นอกจากนั้นการแก้ไขด้วยการมุ่งเน้นการศึกษาเพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่ทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดเสมอไป แต่ถ้าเราจะโยนความผิดให้กับนักเรียนว่าเป็นเพราะนักเรียนขี้เกียจ ไม่สนใจเรียน ก็ดูจะเป็นการโยนปัญหาไปให้กับนักเรียนมากกว่า แม้เราจะมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาการศึกษาวิทยาศาสตร์มากเพียงใด สมมติว่าถ้าเราถามนักเรียนทุกคนในประเทศไทยด้วยคำถามเดียวว่า "วิทยาศาสตร์คืออะไร? "